ประเทศไทย เคยผ่านมรสุมพายุเศรษฐกิจมาหลายต่อหลายครั้ง ผ่านวิกฤตเศรษฐกิจมากี่ครั้งก็ลุก ก็ฟื้นมาได้ แต่จะลุกเร็วหรือลุกช้า แต่ละครั้งนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถของฝ่ายบริหารประเทศ
"ในช่วงแรกหลังวิกฤต คนไทยระมัดระวังการใช้จ่ายและการลงทุนมากขึ้น แต่เมื่อเวลาผ่านไป กลับมีแนวโน้มลืมบทเรียนราคาแพงครั้งนั้น" ดร.นณริฏกล่าว
นโยบายเศรษฐกิจต้องเปลี่ยนแปลง เชิงนโยบายใหม่ที่ไม่ยึดติดกับแนวทางเดิม
นำเทคโนโลยีและข้อมูลมาใช้พัฒนานวัตกรรมและบริการทางการเงิน
ในช่วงหลังโควิด แม้เศรษฐกิจไทยจะเริ่มฟื้นตัว แต่ก็ยังเผชิญกับความท้าทายใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเงินเฟ้อโลก หนี้ครัวเรือนสูง ความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ และภาวะชะลอตัวของประเทศคู่ค้า ปัญหาเชิงโครงสร้าง เช่น ความเหลื่อมล้ำ การพึ่งพาภาคส่งออกและท่องเที่ยวมากเกินไป และการขาดแคลนแรงงานฝีมือ ล้วนเป็นปัจจัยที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง
แสวงหาความช่วยเหลือ: การขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ หรือการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนจากภาครัฐ จะช่วยให้เจ้าของกิจการได้รับข้อมูลและความช่วยเหลือที่จำเป็น
ประกาศ ระเบียบ และคำสั่ง ที่ออกโดย ธปท.
หากไม่เร่งแก้ไข ผลกระทบเชิงลบอาจลากยาว ส่งผลต่อการเติบโตของไทยในระยะยาว
จะแถลงข่าวและเผยแพร่รายงานเศรษฐกิจและการเงินในทุกวันทำการสุดท้ายของเดือน
ตรวจสอบข้อมูลของนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการซื้อและขายธนบัตรต่างประเทศ ที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
เศรษฐกิจไทย: จากวิกฤตต้มยำกุ้งสู่ภาวะ “ป่วยเรื้อรัง”
สำรองเวลาเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ วังบางขุนพรหม หรือใช้บริการของห้องสมุด จดหมายเหตุ และศูนย์การเรียนรู้ ธปท.
สนับสนุนการดูแลเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินไทยและภูมิภาค รวมถึงเสริมสร้างบทบาทของ ธปท. ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ธุรกิจเช่าซื้อลีสซิ่ง find more กลับ นวัตกรรมภาคการเงิน